
วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559
คำนมัสการคุณานุคุณ

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

นิทานเวตาล เรื่องที่ 10

นิราศนรินทร์คำโคลง

๑.๑ ลักษณะของนิราศ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ อธิบายว่า “นิราศ” หมายถึง .เรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันหรือจากที่อยู่ไปในที่ต่างๆอ่านเพิ่มเติม
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง
การอ่านออกเสียงร้อยแก้วเป็นการอ่านออกเสียงเหมือนเสียงพูดธรรมดา เพื่อรับสารจากเรื่องที่อ่าน โดยมีหลักการอ่านดังนี้
๑. ศึกษาเรื่องที่อ่านให้เข้าใจ เพื่อให้ทราบถึงสาระสำคัญของเรื่อง อารมณ์และความรู้สึกที่ผู้เขียนตั้งใจจะสื่อให้ผู้อ่านทราบ แล้วแบ่งวรรคตอนในการอ่านให้ถูกต้องว่าตอนใดควรเว้นวรรคน้อย ตอนใดควรเว้นวรรคมาก
๒. ศึกษาหลักการอ่านคำในภาษาไทยให้ถูกต้องตามอักขรวิธี การอ่านคำที่นิยมมาจากภาษาต่างประเทศ ต้องอ่านให้ถูกต้องโดยยึดพจนานุกรม
๓. ต้องมีสมาธิในการอ่าน คือ ต้องมีความมั่นใจตัวเอง ไม่อ่านผิด อ่านตก อ่านเติม หรืออ่านผิดบรรทัด ต้องควบคุมสายตาจากซ้ายไปขวาและย้อยกลับมาอีกบรรทัดหนึ่งอย่างว่องไวและแม่นยำอ่านเพิ่มเติม

๒. ศึกษาหลักการอ่านคำในภาษาไทยให้ถูกต้องตามอักขรวิธี การอ่านคำที่นิยมมาจากภาษาต่างประเทศ ต้องอ่านให้ถูกต้องโดยยึดพจนานุกรม
๓. ต้องมีสมาธิในการอ่าน คือ ต้องมีความมั่นใจตัวเอง ไม่อ่านผิด อ่านตก อ่านเติม หรืออ่านผิดบรรทัด ต้องควบคุมสายตาจากซ้ายไปขวาและย้อยกลับมาอีกบรรทัดหนึ่งอย่างว่องไวและแม่นยำอ่านเพิ่มเติม
การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

“สิ่งพิมพ์” หมายถึง ข้อความ ข้อเขียน หรือภาพที่เกี่ยวกับแนวความคิด ข้อมูล สารคดีบันเทิง ซึ่งถ่ายทอดด้วยการพิมพ์ลงบนกระดาษ ฟิล์ม หรือวัสดุพื้นอ่านเพิ่มเติม
การอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ

ชวาล แพรัตกุล(2518:228-229) ได้ให้ความหมายของคำว่า "แปล"ไว้ว่า หมายถึง การแปลเจตนา และรู้ความหมายของเรื่องราวนั้น และสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ด้วยถ้อยคำใหม่ สำนวนใหม่
พอสรุปความหมาย"การแปลความ"ได้ว่า หมายถึง การอ่านที่มุ่งให้เกิดความเข้าใจกับเนื้อหา เริ่มจากการแปลคำหรือศัพท์ที่ไม่รู้ความหมาย หรือเป็นการแปลศัพท์จากภาษาหนึ่งไปยังอีกภาษาหนึ่ง การถอดคำประพันธ์ แปลความหมายรูปภาพ เครื่องหมายต่างๆ เช่นอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)